...รวบรวมผลงานของเพื่อนๆ...
ภาพการจัดแสดงผลงานของเพื่อนๆบางส่วนนำมาให้ดูกัน
Friday, March 2, 2007
project 3
RATE CARTOON.....
การจัดประเภทของการ์ตูนญี่ปุ่น
ประเภทของการ์ตูนแบ่งได้ ๖ ประเภท ดังนี้ ๑. การ์ตูนการเมือง (political cartoons)เป็นการ์ตูนที่มุ่งเน้น ล้อ เสียดสี ประชดประชันบุคคลหรือเหตุการณ์ทางการเมือง เพื่อกระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความคิดเห็นใหม่ ๆ ลักษณะของการ์ตูนชนิดนี้อาจมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ หรืออาจมีช่องเดียวหรือหลายช่องก็ได้ นักเขียนการ์ตูนการเมืองมีภาระหนักที่ต้องติดตามข่าวสารบ้านเมืองอย่างต่อเนื่อง จับประเด็นเหตุการณ์นั้นและแสดงความคิดเป็นการ์ตูนอย่างเฉียบคม นักเขียนการ์ตูนมักชำนาญในการเขียนการ์ตูนล้อเลียนบุคคล (caricature) นักเขียนการ์ตูนเมืองไทยที่แฟนการเมืองรู้จักกันดี เช่น ประยูร จรรยาวงษ์ หรือ "ศุขเล็ก" แห่ง น.ส.พ.ไทยรัฐ (เสียชีวิตเมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๓๕), ชัย ราชวัตร "ผู้ใหญ่มาแห่งทุ่งหมาเมิน" แห่ง น.ส.พ.ไทยรัฐ, อรุณ แห่ง น.ส.พ.เดอะเนชั่น ฯลฯ ๒. การ์ตูนขำขัน (gag cartoons)การ์ตูนที่เน้นความขบขันเป็นหลัก อาจเสนอภาพในช่องเดียวหรือหลายช่อง จะมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ ปกติมุขตลกของการ์ตูนชนิดนี้จะหยิบมาจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ปัจจุบันการ์ตูนชนิดนี้กำลังได้รับความนิยมมากในสังคมไทย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ การ์ตูน "ขายหัวเราะ" ๓. การ์ตูนเรื่องยาว (comics or serial cartoons)การ์ตูนที่นำเสนอเป็นเรื่องราวที่มีความต่อเนื่องกันจนจบ มีคำบรรยายหรือบทสนทนาภายในภาพ การ์ตูนชนิดนี้ปรากฏอยู่ในนิตยสารและหนังสือพิมพ์เรียกว่า comics strips แต่ถ้านำมาพิมพ์รวมเล่มเรียกว่า comics books เช่น การ์ตูนเล่มของญี่ปุ่นและฝรั่ง การ์ตูนไทยที่นำเอาวรรณคดี นิยายพื้นบ้าน เรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ มาพิมพ์ขาย รวมทั้งการ์ตูนเล่มละบาท ก็จัดอยู่ในการ์ตูนประเภทนี้เช่นกัน ซึ่ง จุลศักดิ์ อมรเวช หรือ จุก เบี้ยวสกุล นักเขียนการ์ตูนชื่อดังในอดีต ได้รวมเรียกการ์ตูนไทยเหล่านี้ว่า "นิยายภาพ" ๔. การ์ตูนประกอบเรื่อง (illustrated cartoons)เป็นการ์ตูนที่ใช้ประกอบกับข้อเขียนอื่น ๆ ประกอบโฆษณาเพื่อขยายความ หรือเป็นการ์ตูนประกอบการศึกษา การ์ตูนชนิดนี้มักเป็นตัวการ์ตูนโดด ๆ ไม่มีเรื่องราวในตัวเอง ๕. การ์ตูนมีชีวิต (animated cartoons)หรือ ภาพยนตร์การ์ตูน เป็นการ์ตูนที่มนุษย์ใส่ชีวิตให้มีการเคลื่อนไหวได้ มีการลำดับภาพและเรื่องราวอย่างต่อเนื่องคล้ายกับภาพยนต์ เพียงแต่ตัวละครเป็นการ์ตูน ปัจจุบันหนังการ์ตูนแพร๋หลายออกไปอีกหลายสื่อ ทั้งหนังการ์ตูนทีวี หนังการ์ตูนโฆษณา วีดีโอการ์ตูน หรือใช้แสดงประกอบกับนักแสดงที่เป็นคนในภาพยนตร์ ตัวอย่างหนังการ์ตูนที่ฉายในเมืองไทย เช่น สุดสาคร, โดเรมอน, ไลอ้อนคิง, เซลเลอร์มูน เป็นต้น
ประเภทของมังงะ ตามกลุ่มเป้าหมาย
เด็กโชโจะ เด็กวัยรุ่นหญิง
โชเน็น เด็กวัยรุ่นชาย
โจะเซ (หรือ เรดิโคมิ) ผู้หญิง
เซเน็น ผู้ชาย
ตามรสนิยม
โชเน็นไอยะโอะอิโชโจะไอยุริโลลิคอน
โชเน็น ดราก้อนบอล เซนต์เซย่า สแลมดังก์ ซามูไรพเนจร วันพีซ
โชโจะ นานะเซเลอร์มูนมาร์มาเลดบอยสาวแกร่งแรงเกินร้อย
เซเน็น 3x3 Eyesอากิร่า ไม่เหมือนคนเบอร์เซิร์กเบลดออกดือิมมอร์ทอลโกสอินเดอะเชลโคซุเระโอกามิมอนสเตอร์เฮลซิง
ประเภทของมังงะ ตามกลุ่มเป้าหมาย
เด็กโชโจะ เด็กวัยรุ่นหญิง
โชเน็น เด็กวัยรุ่นชาย
โจะเซ (หรือ เรดิโคมิ) ผู้หญิง
เซเน็น ผู้ชาย
ตามรสนิยม
โชเน็นไอยะโอะอิโชโจะไอยุริโลลิคอน
โชเน็น ดราก้อนบอล เซนต์เซย่า สแลมดังก์ ซามูไรพเนจร วันพีซ
โชโจะ นานะเซเลอร์มูนมาร์มาเลดบอยสาวแกร่งแรงเกินร้อย
เซเน็น 3x3 Eyesอากิร่า ไม่เหมือนคนเบอร์เซิร์กเบลดออกดือิมมอร์ทอลโกสอินเดอะเชลโคซุเระโอกามิมอนสเตอร์เฮลซิง
จัดประเภทใหม่ตามข้อมูลที่มี
โดยสรุปที่แบ่งใหม่เป็น 3 ข้อมูลดังนี้
แบ่งตามเนื้อเรื่อง
: Action
: Drama
: Romantic
: Comede
: Sport
: Horror
: Sci-Fi
: Detective
: Food
: Fantacy
: Erotic
: Sex
แบ่งตามลักษณะของตัวการ์ตูน
โจะเซ : ผู้หญิง
เซเน็น : ผู้ชาย
animal : สัตว์
maga : หุ่นยนตร์
โรมาจิ : มีเวทมนตร์
กลุ่มพิเศษ
ยะโออิ : เกย์
ยูริ : เลสเบี้ยน
แบ่งระดับความรุณแรง
น้อย
กลาง
มาก
.....sketch 1....ตามเนื้อเรื่อง
................................................................................................................................................................................
.....สรุป.....
....ICON CHART....
คือเอาข้อมูล 2 ข้อมูลมารวมกันโดย แบ่งตามเนื้อเรื่องแบ่งตามตัวละครตาม chart ดังนี้
แถบที่ใช้คาดบนหนังสือการ์ตูน และอธิบายลายละเอียดของข้อมูล
Thursday, March 1, 2007
project 2
" LINE "
เส้น กับ ความรู้สึก
ลักษณะของเส้น
1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความ ซื่อตรง
2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย
3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง
4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง
5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล
6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา
7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง
8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด
project 2 ศึกษาเรื่องลักษณะของเส้นที่ทำให้เกิดความรู้สึกต่างๆ ในหลักองค์ประกอบศิลป์
จะเห็นได้ว่าบางกรณีมีข้อยกเว้น ซึ่งสรุปได้ว่าสิ่งที่ทำให้เกิดการขัดแย้งมี 4 อย่างคือ
- ความหนาของเส้น
ความหนา หรือบาง ของเส้นทำให้ความรู้สึกของเส้นนั้นแปรผันตามไป จากที่บอกว่าเส้นตรงมั่นคง
แต่พอเป็นเส้นตรงที่เล็ก ความมั่นคงก็จะลดลงตามไปด้วย
- สี
จะเห็นไดว่าสีมีอิทธิพลอย่างมากกับความรู้สึก จากภาพขวามือ เส้นสีแดง ให้ความรู้สึกรุณแรง ไม่สงบนึ่ง
แต่เสันสีเขียว ให้ความรู้สึกสงบนึ่งตามลักษณะของเส้น
- ทิศทางของเส้น
- เส้นที่เกิดจากการลายมือ
..........................................................................................................................................
เส้น กับ ความรู้สึก
ตามหลักองค์ประกอบศิลป์ เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้าเรานำจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันไป ก็จะเกิดเป็นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทำหน้าที่เป็นขอบเขต ของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแกนหรือ โครงสร้างของรูปร่างรูปทรง
ลักษณะของเส้น
1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความ ซื่อตรง
2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย
3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง
4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง
5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล
6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา
7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง
8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด
project 2 ศึกษาเรื่องลักษณะของเส้นที่ทำให้เกิดความรู้สึกต่างๆ ในหลักองค์ประกอบศิลป์
จะเห็นได้ว่าบางกรณีมีข้อยกเว้น ซึ่งสรุปได้ว่าสิ่งที่ทำให้เกิดการขัดแย้งมี 4 อย่างคือ
- ความหนาของเส้น
ความหนา หรือบาง ของเส้นทำให้ความรู้สึกของเส้นนั้นแปรผันตามไป จากที่บอกว่าเส้นตรงมั่นคง
แต่พอเป็นเส้นตรงที่เล็ก ความมั่นคงก็จะลดลงตามไปด้วย
- สี
จะเห็นไดว่าสีมีอิทธิพลอย่างมากกับความรู้สึก จากภาพขวามือ เส้นสีแดง ให้ความรู้สึกรุณแรง ไม่สงบนึ่ง
แต่เสันสีเขียว ให้ความรู้สึกสงบนึ่งตามลักษณะของเส้น
- ทิศทางของเส้น
- เส้นที่เกิดจากการลายมือ
..........................................................................................................................................
Subscribe to:
Posts (Atom)